ทานไข่ 1,2,3 ฟอง คอเลสเตอรอลต่างกันยังไง / ไข่ ไม่มีผลกับคอเลสฯ จริงหรือ / ทานมากๆเสี่ยง?
หมออ๊อก Dr.OCT24 หมออ๊อก Dr.OCT24
24K subscribers
31,723 views
1.5K

 Published On Oct 11, 2024

สมัยก่อนพอพูดถึงไข่ หมอจะบอกว่าให้ระวังคอเลสเตอรอล แต่หลายๆปีหลังมานี้กลับตรงข้าม มีการพูดกันมากโดยเฉพาะในโซเชียลว่าไม่ต้องกังวลคอเลสเตอรอลในไข่แล้ว หรือบางสื่อนำเสนอว่าการทานไข่ไม่มีผลกับคอเลสเตอรอล ทำให้มีการทานไข่กันเยอะขึ้นมากๆ ซึ่งความจริงแล้ว เรื่องคอเลสเตอรอลในไข่ยังเป็นสิ่งที่ต้องสนใจ

ผมจึงนำงานวิจัยที่เป็นแบบ systematic review และ meta-analysis มาเล่า เพื่อให้เห็นภาพว่า จริงๆแล้วเรื่องไขมันดีและไขมันไม่ดีที่เกิดจากไข่ แต่ละงานวิจัยมีความแตกต่างกัน ดังนั้นคนที่ทานประจำจึงควรต้องตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอลของตัวเองอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในคนที่ต้องการทานไข่อย่างต่อเนื่อง คนที่เป็นหรือมีความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองหัวใจ หรือคนที่มีระดับไขมันในเลือดอยู่ในเกณฑ์สูงหรือกลางๆค่อนไปทางสูง

[งานวิจัยหลักในคลิปนี้ ผู้วิเคราะห์ข้อมูลสรุปว่า ไขมันไม่ดีมีแนวโน้มเพิ่มเมื่อทานไข่มากขึ้นหรือทานนานขึ้น ส่วนไขมันดีมีแนวโน้มเท่าๆเดิมเมื่อทานนานขึ้น]

👨‍⚕️ทุกท่านสามารถช่วยสนับสนุนช่อง Dr.Oct24 ได้ที่
https://fukm.short.gy/ueTzLa
ขอบคุณครับ 🙏

00:18 เริ่มพูดคุยกัน
01:25 LDL-c กับ HDL-c สัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดสมองหัวใจอย่างไร
02:18 สัดส่วนที่เหมาะสมของ LDL-c กับ HDL-c
02:53 การศึกษาเกี่ยวกับไข่และคอเลสเตอรอลในเลือด
07:18 ถ้าจะทานไข่ต่อเนื่อง ควรตรวจหาระดับไขมันในเลือดด้วย
07:29 Hyper-responder และ Hypo-responder กับคอเลสเตอรอลในอาหาร
08:06 การทานไข่กับความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมองหัวใจ
09:20 ควรทานไข่ กี่ฟองต่อวัน
10:15 บทสรุป

สารบัญละเอียด
00:18 เริ่มพูดคุยกัน
01:08 คอเลสเตอรอลเป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองหัวใจ
01:25 LDL-c กับ HDL-c สัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดสมองหัวใจอย่างไร
02:18 สัดส่วนที่เหมาะสมของ LDL-c กับ HDL-c
02:53 การศึกษาเกี่ยวกับไข่และคอเลสเตอรอลในเลือด
03:26 ไข่กับ LDL-c (ไขมันไม่ดี)
05:08 ไข่กับ HDL-c (ไขมันดี)
05:53 ไข่กับสัดส่วนของ LDL-c กับ HDL-c
06:41 สรุปประเด็นจากงานวิจัย
07:18 ถ้าจะทานไข่ต่อเนื่อง ควรตรวจหาระดับไขมันในเลือดด้วย
07:29 Hyper-responder และ Hypo-responder กับคอเลสเตอรอลในอาหาร
08:06 การทานไข่กับความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมองหัวใจ
08:43 การทานไข่ กับ ความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
08:55 การทานไข่ กีบ ความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
09:20 ควรทานไข่ กี่ฟองต่อวัน
09:54 ทำไมคนสูงอายุอาจทานไข่ได้วันละ 2 ฟอง
10:15 บทสรุป

#ไข่ #ไข่ไก่ #ลดน้ำหนัก #หมออ๊อกบอกเล่า #ไข่เจียว #ไข่ดาว #ไข่ลวก #ไข่ต้ม #คอเลสเตอรอล

-เม้นท์ที่ตอบคือการสนทนากับผู้ถามณ.เวลานั้นๆเท่านั้น
ความรู้มีการอัปเดตตลอด จึงโปรดพิจารณาในการรับข้อมูลด้วยนะครับ

อ้างอิง:
Li MY, Chen JH, Chen C, Kang YN. Association between Egg Consumption and Cholesterol Concentration: A Systematic Review and Meta-analysis of Randomized Controlled Trials. Nutrients. 2020 Jul 4;12(7):1995.

Virtanen JK, Larsson SC. Eggs - a scoping review for Nordic Nutrition Recommendations 2023. Food Nutr Res. 2024 Feb 6;68.

Haward R, Chacko J, Konjeti S, Metri GR, Binoy BK, Haward R, Raju S. Debunking the Myth: Eggs and Heart Disease. Cureus. 2024 May 9;16(5):e59952.

Félix-Redondo FJ, Grau M, Fernández-Bergés D. Cholesterol and cardiovascular disease in the elderly. Facts and gaps. Aging Dis. 2013 Mar 1;4(3):154-69. PMID: 23730531; PMCID: PMC3660125.

Carter S, Connole ES, Hill AM, Buckley JD, Coates AM. Eggs and Cardiovascular Disease Risk: An Update of Recent Evidence. Curr Atheroscler Rep. 2023 Jul;25(7):373-380.

Tang H, Cao Y, Yang X, Zhang Y. Egg Consumption and Stroke Risk: A Systematic Review and Dose-Response Meta-Analysis of Prospective Studies. Front Nutr. 2020 Sep 8;7:153.

show more

Share/Embed